จากการศึกษาของสารสำคัญในกลุ่มโพลีลีฟีนอลของ Phellinus igniarius ที่สกัดด้วยเอทานอล พบสารส่วนใหญ่ 7 ชนิด คือ 3,4-dihydroxybenzaldehyde, 4-(3,4-dihydroxyphenyl-3-buten-2one, inonoblin C, phelligridin D, inoscavin C, phelligridin C และ interfungin B โดยเมื่อทำการทดสอบด้วยสารสกัดจากซางฮวงกับหนูที่ถูกจำลองสภาวะสมองขาดเลือด (อาการเส้นเลือดในสมองอุดตัน) โดยสาร acrolein พบว่าสารสกัดโพลีฟีนอลของ Phellinus igniarius ที่ความเข้มข้น 0.5 และ 2 µg/mL ลดการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์นิวโรบลาสโตมาของหนู (Neuro-2a) ที่เกิดจากสาร acrolein ได้อย่างมาก นอกจากนี้เมื่อทำการฉีดสารสกัด Phellinus igniarius เข้าทางช่องท้องที่ปริมาตร 20 µg/kg ทำให้ปริมาตรการอุดตันลดลง 62.2% เมื่อเทียบกับหนูที่ไม่ได้รับการรักษาการ


*อะโครลีน (Acrolein)  
*PIDMSO (PI สารสกัดจากเห็ดซางฮวงชนิด PI ที่สกัดด้วยเอททานอลขนาด นำไปละลายใน Dimethyl sulfoxide)  
*PLP=Polysaccharide จาก Phellinus linteus  
*PIP = Polysaccharide จาก Phellinus igniarius

แหล่งอ้างอิง : Suabjakyong P, Saiki R, Van Griensven LJLD, Higashi K, Nishimura K, et al. (2015) Polyphenol Extract from Phellinus igniarius Protects against Acrolein Toxicity In Vitro and Provides Protection in a Mouse Stroke Model. PLOS ONE 10(3): e0122733. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0122733

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here